|
LPA ปี พ.ศ.2565 |
|
|
|
17. การออกคำสั่งด้านการบริหารงานบุคคลมีการดำเนินการ |
|
|
|
|
|
|
1. รายละเอียดคำสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนดและเป็นปัจจุบันหรือไม่ |
|
|
2. รายละเอียดคำสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนผู้อำนวยการสำนัก กอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนดและเป็นปัจจุบัน |
|
|
3. รายละเอียดคำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนดและเป็นปัจจุบัน |
|
|
4. รายละเอียดคำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนัก กอง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนดและเป็นปัจจุบัน |
|
|
5. รายละเอียดคำสั่งปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมายหน้าที่การงานให้แก่รองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระบุเลขที่ตำแหน่ง ชื่อส่วนราชการที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน และปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลงนามในคำสั่ง |
|
|
6. รายละเอียดคำสั่งผู้อำนวยการสำนัก กองหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นมอบหมายหน้าที่การงานให้แก่ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ว่ามีครบทุกส่วนราชการระบุเลขที่ตำแหน่งของข้าราชการส่วนท้องถิ่นทุกรายสมบูรณ์ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน |
|
|
7. รายละเอียดรายงานผลดำเนินงานของผู้รับมอบอำนาจตามคำสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ว่ามีหนังสือรายงานผลอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และสรุปผลการดำเนินงานครบทุกลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย |
|
|
8. รายละเอียดรายงานผลดำเนินงานของผู้รับมอบอำนาจตามคำสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนผู้อำนวยการสำนัก กอง หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ว่ามีหนังสือรายงานผลอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และสรุปผลการดำเนินงานครบทุกลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย |
|
|
9. การประชาสัมพันธ์เผยแพร่คำสั่งลำดับที่ 1 – 6 ในเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเป็นปัจจุบัน |
|
|
10. รายละเอียดวันที่ออกคำสั่งเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลเทียบกับวันที่ ก.จ. ก.ท. ก.อบต.จังหวัด หรือ ก.เมืองพัทยา มีมติเห็นชอบว่าอยู่ภายในระยะเวลา 15 วัน นับตั้งแต่วันที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลงรับหนังสือ |
|
|
18. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการอบรมหรือฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเอง |
|
|
|
|
|
|
1. เอกสารการวิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการของบุคลากรที่ผู้บริหารท้องถิ่นได้ลงนามและประกาศเพื่อทราบ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 |
|
|
2. แผนพัฒนาบุคลากรประจำปี |
|
|
3. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 |
|
|
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ |
|
|
19. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการส่งบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรมกับหน่วยงานอื่น |
|
|
|
|
|
|
1. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 |
|
|
2. คำสั่ง/อนุญาต/อนุมัติหนังสือส่งตัวบุคลากร |
|
|
3. เอกสารรายงานสรุปผลการอบรมหรือฝึกอบรมที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ |
|
|
4. รายละเอียดเนื้อหาหลักสูตรที่หน่วยจัดการอบรมหรือฝึกอบรม ต้องสอดคล้องกับตำแหน่ง/มาตรฐานกำหนดตำแหน่งของผู้เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรม |
|
|
5. วิทยากรต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหรือดำรงตำแหน่งตรงกับเนื้อหาหลักสูตรการอบรมหรือฝึกอบรม |
|
|
|
หน่วยที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล |
|
20. ระดับความสำเร็จของการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น |
|
|
|
|
|
|
1. ประกาศหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
|
|
2. รายงานการประชุมมอบนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น และหลักฐานอื่น |
|
|
3. รายงานการประชุมชี้แจงของแต่ละส่วนราชการ และหลักฐานอื่น |
|
|
4. สุ่มตรวจแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นว่า มีการจัดทำหรือกำหนดผลสัมฤทธิ์ของงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ด้วยวิธีการถ่ายทอดจากบนลงล่างหรือกำหนดตัวชี้วัดเป็นระดับองค์กร ระดับส่วนราชการ และระดับรายบุคคล และกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนไว้อย่างชัดเจน ตั้งแต่ต้นรอบการประเมินหรือไม่ และให้มีการสุ่มตรวจแบบ
ประเมินฯ ของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ปลัด อบจ./เทศบาล/อบต.หัวหน้าส่วนราชการ 2 คน และข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น 2 คน แล้วแต่กรณี |
|
|
5. ตรวจสอบว่าแต่ละส่วนราชการมีคู่มือพจนานุกรมสมรรถนะ หรือหลักฐานอื่นเพื่อใช้ประกอบการประเมินสมรรถนะของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นในสังกัด |
|
|
21. การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
|
|
|
|
|
|
1. การแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานมีการแต่งตั้งเป็นไปตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือไม่ |
|
|
2. การใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1) สายงานการสอน
2) สายงานบริหารสถานศึกษา
3) สายงานนิเทศการศึกษา |
|
|
3. การแจ้งผลการประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
|
|
22. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
|
|
|
|
|
|
1. การคำนวณวงเงินร้อยละ 3 ที่สามารถจะใช้เลื่อนเงินเดือนข้าราชการ หรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด ที่มีตัวอยู่จริง (รวมผู้ที่ไปช่วยราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือส่วนราชการอื่นด้วย) ให้ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 1 มีนาคม หรือ วันที่ 1 กันยายน แล้วแต่กรณี |
|
|
2. จำนวนร้อยละที่จะไว้ใช้ในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ละคนในแต่ละครั้งไม่เกินร้อยละ 6 ของฐาน ในการคำนวณของแต่ละคน |
|
|
3. มีการประกาศอัตราร้อยละของฐานในการคำนวณที่ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการคำนวณ เพื่อเลื่อนเงินเดือน ต้องประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปอย่างช้าที่สุดพร้อมกับการมีคำสั่งเลื่อนเงินเดือน |
|
|
4. การเกลี่ยเงินจะต้องเกลี่ยภายในกลุ่มอันดับเงินเดือนเดียวกันเท่านั้น |
|
|
5. หนังสือแจ้งผลการเลื่อนเงินเดือน |
|
|
23. ระดับความสำเร็จของการบันทึก ปรับปรุงและแก้ไขข้อมูลทะเบียนประวัติอิเล็กทรอนิกส์ของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาลูกจ้าง ในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR) ให้ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน |
|
|
|
|
|
|
ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้เจ้าหน้าที่ทะเบียนประวัติ แสดงข้อมูลในระบบ ดังนี้ |
|
|
1. ระบบแผนอัตรากำลัง 3 ปี ให้ตรวจสอบโครงสร้างส่วนราชการ กรอบอัตรากำลังทั้งหมดตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และระบุผู้ครองตำแหน่งหรืออัตราว่าง |
|
|
2. ระบบ ก.พ.7 ข้าราชการสามัญ และระบบ ก.พ.7 ครู ให้ตรวจสอบข้อมูล และรูปถ่ายจากบัตรประจำตัวประชาชน คำสั่งตำแหน่งและอัตราเงินเดือน ประวัติการศึกษา การฝึกอบรมการถูกลงโทษวินัย (ถ้ามี) ข้อมูลครอบครัว และอื่น ๆ ที่กำหนด |
|
|
3. ระบบประมวลผลและรายงาน ให้ตรวจสอบข้อมูล และจำนวนบุคลากรว่า ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันหรือไม่ |
|
ทั้งนี้ ตามคู่มือการตรวจสอบ และวิธีการที่กำหนด |
|
|
หน่วยที่ 3 คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตกับการทำงาน |
|
24. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสถานที่ทำงานที่น่าอยู่ น่าทำงาน |
|
|
|
|
|
|
1. นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น |
|
|
2. ตรวจสอบข้อเท็จจริงว่า สถานที่ทำงาน มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ น่าทำงานตามที่กำหนดไว้ |
|
|
3. การจัดโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
1 2 (3) 4 5 6 7 ....หน้าสุดท้าย >> 17 |